ส่วนร่วมทางการเมืองในประชาธิปไตย มีอะไรบ้าง

การมีส่วนร่วมทางการเมืองของระบอบประชาธิปไตย                 การมีส่วนร่วมทางการเมือง หมายถึง การกระทำใดๆ ก็ตามที่เกิดโดยความเต็มใจไม่ว่าจะประสบผลสำเร็จหรือไม่ก็ตาม และไม่ว่าจะมีการจัดการอย่างไรเป็นระเบียบหรือไม่ และไม่ว่าจะเกิดขึ้นเป็นครั้งคราวหรือว่ามีความต่อเนื่องกัน จะใช้วิธีที่ถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่ถูกต้อง เพื่อผลในการที่จะมีอิทธิพลต่อการเลือกนโยบายของรัฐหรือต่อการบริหารงานของรัฐ หรือต่อการเลือกผู้นำทางการเมืองของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นในระดับท้องถิ่นหรือในระดับต่างชาตินั้น การมีส่วนร่วมทางการเมือง มีความสำคัญต่อการที่จะพัฒนาประชาธิปไตยเป็นอย่างมาก คือ การทำให้ผู้ปกครองและผู้ที่ถูกปกครองได้มีโอกาสในการทราบความต้องการของกันและกัน อย่างแท้จริงทำให้การดำเนินการตามนโยบายของรับตอบสนองต่อผู้เป็นเจ้าของประเทศในการด้านของเศรษฐกิจ การเมือง รวมไปถึงสังคม รูปแบบของการมีส่วนร่วมทางการเมืองนั้น มี 5 ประการด้วยกัน คือ 1. การออกเสียงในการเลือกตั้ง 2. การรณรงค์เพื่อที่จะทำการหาเสียง 3. การกระทำ ของแต่ละบุคคลเป็นเอกเทศต่อปัญหาทางการเมืองและสังคม 4. การเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่ม 5. กิจกรรมที่ก่อให้เกิดความรุนแรง การใช้ความรุนแรง และอาจเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย รูปแบบของการมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยทั่วไปที่ประชาชนนั้นสามารถปฏิบัติได้ ของประเทศไทยเรานั้น มีดังนี้ 1. การไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง การไปลงคะแนนเสียงเพื่อเลือกตั้งนั้นเรียกได้ว่า เป็นการมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยรูปแบบประชาธิปไตยที่ให้มีการโหวตและมีคะแนน การมีส่วนร่วมในรูปแบบนี้นั้นคนไทยเรารู้จักกันดีมากที่สุด การเลือกตั้งนั้นถือได้ว่าเป็นเงื่อนไขที่สำคัญเป็นอย่างมาก ถ้าหากไม่มีการเลือกตั้งนั้น ประเทศนั้นก็จะจัดว่าเป็นประเทศที่มีการปกครองในระบอบของประชาธิปไตย เมืองไทยนั้นได้มีการเลือกผู้แทนราษฎรครั้งแรก เมื่อวันที่ 15  พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 แต่ในขณะนั้นเป็นการเลือกตั้งในทางอ้อม เพราะว่าประชาชนนั้นต้องทำการเลือกตั้งผู้แทนในระดับท้องถิ่น และให้ผู้แทนท้องถิ่นนั้น ไปทำการเลือกตั้ง ผู้แทนราษฎรอีกทีหนึ่ง แต่ในปัจจุบันนั้นเราสามารถที่จะเลือกตั้ง …

ระบบการเลือกตั้งใจในปัจจุบันเป็นอย่างไร

ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี พ.ศ. 2562 ประเทศไทยมาพร้อมกับระบบการเลือกตั้งรูปแบบใหม่ ที่เรียกว่า ‘ระบบจัดสรรปันส่วนผสม’ ซึ่งเป็นไปตามรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. 2560 ระบบการเลือกตั้งใจในปัจจุบันเป็นอย่างไร ? มาศึกษากัน ส.ส. หรือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร – มี 2 ประเภท คือ ส.ส. แบบแบ่งเขต และ ส.ส.บัญชีรายชื่อ หรือพรรคการเมืองนั่นเอง มีจำนวนทั้งสิ้น 500 คน ดำรงตำแหน่ง 4 ปี ส.ว. หรือ สมาชิกสภาวุฒิสภา – มาการจากแต่งตั้ง มีทั้งสิ้น 200 คน ดำรงตำแหน่ง 5 ปีวาระเดียว ระบบการเลือกแบบใหม่นี้ เกิดความเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเป็นอย่างยิ่ง สำหรับประเด็นที่น่าสนใจที่จำเป็นต้องศึกษาได้แก่… สำหรับระบบเลือกตั้งใหม่ประจำปี พ.ศ. 2562 เรียกว่า ‘ระบบจัดสรรปันส่วนผสม’ ส.ส. 500 คน แบ่งออกเป็นส.ส.เขต 350 คน / ส.ส.บัญชีรายชื่อ …

ฝ่ายค้านยื่นญัตติด่วน ผุด กมธ.สอบ ส.ว.

เมื่อวัน 19 มิถุนายน ที่ผ่านมา นายปิยะบุตร เลขาธิการพรรคอนาคตใหม่ พร้อมกับพรรคฝ่ายค้านร่วมทั้ง 7 พรรค ได้แก่ พรรคเพื่อไทย พรรคประชาชาติ พรรคเพื่อชาติ พรรคเสรีรวมไทย พรรคเศรษฐกิจใหม่ และพรรคพลังปวงชนไทย ได้รวมตัวกันที่รัฐสภาเพื่อยื่นญัตติให้ตั้งกรรมการตรวจสอบการวุฒิสภา ว่าเป็นไปตามรัฐธรรมนูฐที่กำหนดหรือไม่ โดยจะยื่นทั้งหมด 3 ญัตติ ประกอบไปด้วย พรรคเพื่อไทย 1 ญัตติ พรรคอนาคตใหม่ 1 ญัตติ และพรรคพลังปวงชนไทย อีก 1 ญัตติ ซึ่งทั้งหมดนี้ จะยื่นเสนอนายชวน หลีกภัย ผู้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานสภาฯ คนปัจจุบัน โดยหวังให้มีการใส่ไว้ในระเบียบการประชุมในสัปดาห์หน้าที่จะถึงนี้ ส่วนตามที่ฝ่ายค้านได้อ้างรัฐธรรมนูญมีดังนี้ ได้แก่ รัฐธรรมนูญ มาตรา 113 สมาชิกวุฒิสภาต้องไม่ฝักใฝ่หรือยอมตนอยู่ใต้อาณัติของพรรคการเมืองใดๆ และรัฐธรรมนูญ มาตรา 114 สมาชิกวุฒิสภาเป็นตัวแทนของประชาชน ห้ามมีข้อผูกมัดทางการเมืองใดๆ ต้องทำหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ เพื่อผลประโยชน์ของชาติ โดย ส.ส. พรรคเพื่อไทย นายสุทิน คลังแสง ได้กล่าวว่ามีอีกประเด็นให้ตรวจสอบอีก 4 อย่าง ได้แก่ …